แนะนำวีดีโอทั้งหมด
เกี่ยวกับวีดีโอชุดนี้
ดาวโหลดเครื่องมือ
ดาวโหลดและติดตั้งคอมไพเลอร์ และเครื่องมือที่จำเป็น Cygwin และ Eclipse
การสร้างโปรเจก / debuging
เรียนรู้วิธีการสร้างโปรเจกใน Eclipse การตั้งค่าที่อยู่ของคอมไพเลอร์ วิธีแก้ปัญหาโปรแกรมรันไม่ได้ และการหาข้อผิดพลาด
โปรแกรมแรก
เขียนโปรแกรมแรก และความหมายของแต่ละบรรทัด แต่ละตัวอักษร
ตัวอย่าง GUI อย่างง่าย
การเขียนโปรแกรมแบบ GUI ด้วยภาษาซี โดยใช้ window.h
ส่วนประกอบของโปรแกรม
function , comment , block, statement
โครงสร้างแรมพื้นฐาน
เข้าใจโครงสร้างของหน่วยความจำหลัก (Ram) ช่วยให้เข้าใจภาษาซีได้ง่ายยิ่งขึ้น
ชนิดตัวเลข
ชนิดของตัวเลขที่ใช้ในภาษาซี ( Primitive Data-Type )
ขนาดข้อมูลตัวเลข
ขนาดและข้อจำกัดของข้อมูลชนิดตัวเลข
การประกาศตัวแปร
การสร้างตัวแปร และการใช้ typedef
การประกาศค่าคงที่
การใช้ const กับ #define
Statement VS Expression
ความแตกต่างระหว่าง statement กับ expression
เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์
การบวก ลบ คูณ หาร ตัวเลข Mathematic operators
Precedence Operator
ลำดับศักดิ์ของเครื่องหมาย
if – else กับ เครื่องหมายความสัมพันธ์
การเขียนโปรแกรมแบบระบุเงื่อนไข ให้ทำงานตามที่ตั้งไว้
เครื่องหมายตรรกะ
การทดสอบนิพจน์ Logical operator
Compound, Comma ,Conditional Statement
การรวมเครื่องหมายเข้าด้วยกัน และตารางสรุปเครื่องหมายทั้งหมด
ฟังก์ชั่น
รายละเอียดฟังก์ชั่นตั่งแต่เริ่มต้น
Recursion
การเขียนฟังก์ชั่นแบบให้มันเรียกตัวมันเอง
Mergesort Demo
ตัวอย่างการเรียงลำดับข้อมูลโดยใช้เทคนิก Mergesort
อาเรย์ เบื้องต้น
รายละเอียดเกี่ยวกับอาเรย์พื้นฐาน
for loop
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ โดยใช้ for loop
while loop
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ โดยใช้ while loop
do – while loop
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ โดยใช้ do - while loop ( exit control loop)
scanf , printf, การรับข้อมูลจากผู้ใช้งาน
เข้าใจการทำงานของ printf และ scanf
อาเรย์ , multidimensional array
อาเรย์ต่อ และการสร้างอาเรย์แบบ 2 มิติ หรือตาราง
พอร์ยเตอร์ 1
Pointer การทำงานในระดับที่อยู่ของตัวแปร
ตัวอย่างพอร์ตเตอร์ 1
การสลับค่าของ 2 ตัวเลขโดยใช้ฟังก์ชั่น และพอร์เตอร์ การส่งผ่านพอร์ยเตอร์ให้ฟังก์ชั่น
บวกลบพอร์ยเตอร์ กับอาเรย์
เข้าใจความหมายของการบวกลบพอร์ยเตอร์. Pointer increment , Pointer decrement
การผ่านอาเรย์ให้ฟังก์ชั่น แบบพอร์ยเตอร์
อธิบายเรื่องพอร์เตอร์ของอาเรย์ และการใช้งาน
ตัวอักษร และข้อความ
รหัส ASCII การแสดงข้อความและตัวอักษร
ข้อความแบบไดนามิก
การขอหน่วยความจำจากระบบปฏิบัติการ โดยใช้ฟังก์ชั่น malloc
พิมเขียวข้อมูล ( structure )
การสร้างโครงสร้างข้อมูลตามที่ต้องการ
พิมเขียวข้อมูล อาเรย์ typedef
tyedef สำหรับ structure และการประกาศอาเรย์ของ structure
พิมเขียวข้อมูล กับพอร์ยเตอร์ ( ตัวอย่าง link list )
แนะนำ Link list อย่างง่าย
ยูเนี่ยน และการใช้งาน ( Union and Application )
อีกรูปแบบหนึ่งของ structure โดยการใช้หน่วยความจำแบบประหยัดที่สุด
ขอบเขตของตัวแปร
Variable Scope , Local variable , Global variable
break , continue
การออกจากการวนซ้ำตามที่กำหนด และการหยุดการทำซ้ำในบางกรณี
switch – case
อีกรูปแบบหนึ่งของการใช้ if-else หลายๆต่อ
พอร์ยเตอร์ กับ พอร์ยเตอร์
ความเข้าใจเบื้อต้นก่อนที่จะเข้าใจพอร์ยเตอร์ของอาเรย์สองมิติ
พอร์ยเตอร์กับอาเรย์สองมิติ
ความแตกต่างระหว่างอาเรย์ของพอร์ยเตอร์ กับ พอร์ยเตอร์ของอาเรย์
พอยร์เตอร์เรียกฟังก์ชั่น ( pointer to function )
การเรียกใช้ฟังก์ชั่นแบบไดนามิก
ไฟล์เบื้องต้น (การอ่านไฟล์)
ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับไฟล์
การเขียนข้อมูลลงไฟล์
การใช้ fprintf และ fscanf
บัพเฟอร์ของไฟล์
สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับบัพเฟอร์ การเขียนข้อมูลลงดิสก์จริงๆ
การบันทึกไฟล์แบบไบนารี่โหมด
การใช้ฟังก์ชั่น fread , fwrite และการทำงานในแบบ Binary mode
การใช้ไฟล์ random access เบื้องต้น
การใช้ฟังก์ชั่น ftell
การใช้ไฟล์ random access
การใช้ฟังก์ชั่น fseek
การจัดการไฟล์ (ไม่มีซอสโค๊ด)
การลบไฟล์ เปลี่ยชื่อไฟล์ ในเครื่อง ด้วยภาษาซี
การ copy ไฟล์
ไลบรารี่ไม่ได้เตรียมฟังก์ชั่น copy ไฟล์ไว้ให้ วิธีสร้างฟังก์ชั่น copy ไฟล์ ด้วยตัวคุณเอง
String กับ <string.h>
การใช้ฟังก์ชั่นของ string พื้นฐาน
ค้นหาข้อความ
การใช้ฟังก์ชั่นค้นหาข้อความใน string.h ทั้งหมด 6 ฟังก์ชั่น
เปลี่ยนข้อความตัวเลขให้เป็นตัวเลข
การใช้ atoi และ atof
วิเคราะห์อักษร
ตรวจสอบและวิเคราห์ชนิดต่างๆของตัวอักษร
Quick sort กับ Binary search
การเรียงลำดับข้อมูล และการค้นหาข้อมูล โดยใช้ฟังก์ชั่น qsort และ bsearch
การขอหน่วยความจำเพิ่ม realloc
ขยายพื้นที่ของหน่วยความจำให้โปรแกรมแบบไดนามิก
การปลดหน่วยความจำ ( free )
ป้องกันหน่วยความจำรั่ว memory leak
memset memmove memcpy
ตั้งค่าอาเรย์ของตัวอักษรในระดับหน่วยความจำ
ดูจบแล้วยังไงต่อดี
ทุกจุดสิ้นสุด คือจุดเริ่มต้นเสมอ